วันศุกร์ที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2553
Vacances au bord de la mer...
C'était le moment très formidable pendent les vacances avec ma famille. On a visité à Koh Kam [une íle très jolie à Sattahipe]. on a plongé sous la mer et regardé plusieurs de poissons colorés. J'ai été très heureux.
วันจันทร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
โมเดลการนำเสนอรายงานหน้าห้องเป็นภาษาฝรั่งเศสอย่างง่ายๆ แค่นี้ก็สบาย NAJA
โมเดลการนำเสนอรายงานหน้าห้องอย่างง่าย
เห็นนักศึกษาหรือนักเรียนออกไปรายงานหน้าห้องแล้วเกิดอาการเงอะงะ ขึ้นไม่ได้ลงไม่ถูก หรือบางทีขึ้นดีแต่จบไม่สวย ก็เลยลองเอาโครงสร้างการรายงานหน้าห้องอย่างง่ายมาให้ดู หวังว่านักเรียนนักศึกษาจะได้นำไปใช้ประโยชน์ ทำให้การรายงานหน้าห้องราบรื่นและน่าสนใจนะครับ
1. กล่าวสวัสดีผู้ฟัง
ให้ลำดับผู้ฟังที่อาวุโสสูงสุดไว้ข้างหน้าสุด เช่น
Madame le professeur, mes chers amis, bonjour. หรือ
Monsieur le directeur, monsieur le professeur, mes chers amis, bonjour.
สังเกตไหมว่าคำว่า bonjour จะมาท้ายสุด ให้ฝึกพูดแบบนี้ไว้ เท่ห์มากเลยทีเดียว
2. บอกโครงสร้างคร่าว ๆ ของ exposé เพื่อลำดับความคิดของคนฟัง
Nous avons le plaisir de faire un exposé sur La Culture Thailandaise. พวกเรายินดีที่จะนำเสนอรายงานหน้าห้องเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย
Notre exposé se compose de 3 parties. รายงานของเราแบ่งออกเป็น 3 ส่วน
La première partie parle de la culture générale en Thailande. ส่วนที่หนึ่งพูดเกี่ยวกับวัฒนธรรมทั่วๆ ไปในประเทศไทย
La deuxième traite la présence et l’influence de la culture occidentale dans la culture thailandaise. ส่วนที่สองพูดเกี่ยวกับการปรากฏและอิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันตกที่มีต่อวัฒนธรรมไทย
La dernière donnera quelques exemples concrets de la défense de la culture thailandaise. ส่วนสุดท้ายจะให้ตัวอย่างการปกป้องวัฒนธรรมไทยที่เป็นรูปธรรมจำนวนสองสามตัวอย่าง
3. เข้าสู่เนื้อหา
Je vais parler maintenant de la culture générale en Thailande …. ดิฉัน (ผม) จะขอเริ่มพูดเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยทั่วไป
4. การส่งให้คนอื่นพูดต่อ
Je vais passer la parole à ….. ชื่อเพื่อน .... qui va parler de la présence et l’influence …. ต่อไปนี้เป็นหน้าที่ของ....ที่จะมาพูดถึง.....
5. กล่าวสรุป
Pour conclure/En guise de conclusion, j’aimerais dire que ….เพื่อเป็นการสรุป ดิฉัน (ผม) อยากจะบอกว่า .....
6. ขอบคุณ
Avant de terminer, je tiens à remercier Monsieur ….. (ครู เพื่อน หรือคนที่ช่วยเหลือให้ข้อมูล) qui nous apporte une aide précieuse. ก่อนจบการรายงาน ขอขอบคุณ.....ที่กรุณาช่วยเหลือ
7. จบการรายงาน
Merci de votre attention. ขอบคุณที่กรุณาฟัง
แค่นี้รายงานหน้าห้องก็ราบรื่นแล้ว อย่าลืมนำไปประยุกต์ปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมนะครับ อย่าเอาแต่ลอกอย่างเดียว
เห็นนักศึกษาหรือนักเรียนออกไปรายงานหน้าห้องแล้วเกิดอาการเงอะงะ ขึ้นไม่ได้ลงไม่ถูก หรือบางทีขึ้นดีแต่จบไม่สวย ก็เลยลองเอาโครงสร้างการรายงานหน้าห้องอย่างง่ายมาให้ดู หวังว่านักเรียนนักศึกษาจะได้นำไปใช้ประโยชน์ ทำให้การรายงานหน้าห้องราบรื่นและน่าสนใจนะครับ
1. กล่าวสวัสดีผู้ฟัง
ให้ลำดับผู้ฟังที่อาวุโสสูงสุดไว้ข้างหน้าสุด เช่น
Madame le professeur, mes chers amis, bonjour. หรือ
Monsieur le directeur, monsieur le professeur, mes chers amis, bonjour.
สังเกตไหมว่าคำว่า bonjour จะมาท้ายสุด ให้ฝึกพูดแบบนี้ไว้ เท่ห์มากเลยทีเดียว
2. บอกโครงสร้างคร่าว ๆ ของ exposé เพื่อลำดับความคิดของคนฟัง
Nous avons le plaisir de faire un exposé sur La Culture Thailandaise. พวกเรายินดีที่จะนำเสนอรายงานหน้าห้องเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย
Notre exposé se compose de 3 parties. รายงานของเราแบ่งออกเป็น 3 ส่วน
La première partie parle de la culture générale en Thailande. ส่วนที่หนึ่งพูดเกี่ยวกับวัฒนธรรมทั่วๆ ไปในประเทศไทย
La deuxième traite la présence et l’influence de la culture occidentale dans la culture thailandaise. ส่วนที่สองพูดเกี่ยวกับการปรากฏและอิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันตกที่มีต่อวัฒนธรรมไทย
La dernière donnera quelques exemples concrets de la défense de la culture thailandaise. ส่วนสุดท้ายจะให้ตัวอย่างการปกป้องวัฒนธรรมไทยที่เป็นรูปธรรมจำนวนสองสามตัวอย่าง
3. เข้าสู่เนื้อหา
Je vais parler maintenant de la culture générale en Thailande …. ดิฉัน (ผม) จะขอเริ่มพูดเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทยทั่วไป
4. การส่งให้คนอื่นพูดต่อ
Je vais passer la parole à ….. ชื่อเพื่อน .... qui va parler de la présence et l’influence …. ต่อไปนี้เป็นหน้าที่ของ....ที่จะมาพูดถึง.....
5. กล่าวสรุป
Pour conclure/En guise de conclusion, j’aimerais dire que ….เพื่อเป็นการสรุป ดิฉัน (ผม) อยากจะบอกว่า .....
6. ขอบคุณ
Avant de terminer, je tiens à remercier Monsieur ….. (ครู เพื่อน หรือคนที่ช่วยเหลือให้ข้อมูล) qui nous apporte une aide précieuse. ก่อนจบการรายงาน ขอขอบคุณ.....ที่กรุณาช่วยเหลือ
7. จบการรายงาน
Merci de votre attention. ขอบคุณที่กรุณาฟัง
แค่นี้รายงานหน้าห้องก็ราบรื่นแล้ว อย่าลืมนำไปประยุกต์ปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมนะครับ อย่าเอาแต่ลอกอย่างเดียว
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสอบ DELF A1 / A2
การสอบวัดระดับภาษาฝรั่งเศส
การสอบวัดระดับภาษาฝรั่งเศสในประเทศไทยจัดสอบโดยสมาคมฝรั่งเศส กรุงเทพฯ การสอบแบ่งออกเป็นหลายประเภท โดยการสอบประเภทที่นักเรียนในระดับมัธยมปลายส่วนใหญ่ในประเทศไทยนิยมสอบกัน คือ การสอบ DELF ซึ่งเป็น ประกาศนียบัตรความรู้ทางด้านภาษาฝรั่งเศสขั้นพื้นฐาน ซึ่งบางโรงเรียนอาจมีการจัดสอบเป็นกลุ่มเฉพาะสำหรับนักเรียน โรงเรียนของตน นอกจากนี้ยังมีการทดสอบความรู้ภาษาฝรั่งเศส (TCF) และการสอบประเมินความรู้ทางภาษาฝรั่งเศส (TEF) อีกด้วย โดยการสอบวัดระดับเพื่อใช้เป็นหลักฐานในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาในประเทศฝรั่งเศสนั้น ส่วนใหญ่จะใช้ผลการสอบ DELF และ TCF ส่วนการสอบ TEF นั้นเป็นการสอบเพื่อเข้าศึกษาต่อหรือทำงานในประเทศแคนาดา
1. ประกาศนียบัตร DELF และ DALF
ประกาศนียบัตรความรู้ทางด้านภาษาฝรั่งเศสขั้นพื้นฐาน (DELF) และประกาศนียบัตร ความรู้ทางด้านภาษาฝรั่งเศสขั้นสูง (DALF) นี้ เป็นประกาศนียบัตรที่รับรองความรู้ ภาษาฝรั่งเศส ในฐานะภาษาต่างประเทศ ซึ่งรับรองอย่างเป็นทางการโดย ระทรวงศึกษาธิการ ของฝรั่งเศส ประกาศนียบัตรที่มีผลบังคับรับรองตลอดชีวิตทั้งสองระดับนี้ เป็นที่ยอมรับ ในประเทศฝรั่งเศส และทั่วโลก สามารถนำไปแสดงระดับความสามารถทางภาษาฝรั่งเศส กับนายจ้างได้ ในการวัดระดับของประกาศนียบัตรความรู้ ทางด้านภาษาฝรั่งเศสขั้นพื้นฐาน (DELF) และประกาศนียบัตรความรู้ทางด้านภาษาฝรั่งเศสขั้นสูง (DALF) ประกอบด้วย ประกาศนียบัตรซึ่งไม่เกี่ยวเนื่องต่อกัน 6 ระดับ โดยประกอบกันเป็น 6 ระดับตามมาตรฐาน อ้างอิงร่วมกัน ของสหภาพยุโรป สำหรับภาษาต่างๆ และปรับให้เข้ากับทุกคน ประกาศนียบัตร แต่ละใบจะเป็นการทดสอบที่เทียบเท่ากับการทดสอบทักษะ 4 ด้าน คือ ความเข้าใจกับการพูด ความเข้าใจกับการเขียน
ผู้สมัครสอบที่ได้รับประกาศนียบัตร DELF B2 สามารถเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยฝรั่งเศสได้โดยไม่ต้องสอบวัดระดับภาษาแรกเข้า
การสมัครสอบและการสอบ
การสอบประกาศนียบัตรความรู้ทางด้านภาษาฝรั่งเศสขั้นพื้นฐาน (DELF)
ดำเนินการโดยสมาคมฝรั่งเศส กรุงเทพฯ โดยมีการจัดสอบปีละ 3 ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ 1 เมษายน -มิถุนายน
ครั้งที่ 2 กันยายน -พฤศจิกายน
ครั้งที่ 3 ธันวาคม -กุมภาพันธ์
อัตราค่าสมัครสอบ
DELF A1 กับ A2 : ค่าสมัครสอบ 800 บาท ต่อการสอบแต่ละระดับ
DELF B1 กับ B2 : ค่าสมัครสอบ 900 บาท ต่อการสอบแต่ละระดับ
DALF C1 กับ C2 : ค่าสมัครสอบ 1,200 บาท ต่อการสอบแต่ละระดับ
2. การทดสอบความรู้ภาษาฝรั่งเศส (TCF)
การทดสอบความรู้ภาษาฝรั่งเศส (Test de Connaissance du Franças - TCF) เป็นการสอบอันดับหนึ่ง ของกระทรวงศึกษาธิการ การศึกษาขั้นสูง และการวิจัยของฝรั่งเศส โดยเป็นการสอบวัดระดับความสามารถทางภาษาฝรั่งเศส สำหรับบุคคลทั่วไปผู้ไม่ได้ใช้ภาษาฝรั่งเศส ที่ประสงค์จะประเมินระดับทักษะภาษาฝรั่งเศสของตนด้วยวิธีการง่ายๆ เชื่อถือได้ และรวดเร็ว ไม่ว่าจะเพื่อจุดประสงค์ด้านอาชีพการงาน ด้านส่วนตัว หรือด้านการศึกษาก็ตาม ซึ่งเป็นการสอบที่ได้รับรองมาตรฐาน และตรวจสอบจากหน่วยงานผู้ตรวจสอบซึ่งเป็นสมาชิกของสมาคม การทดสอบภาษาแห่งยุโรป (Association of language testers in Europe ALTE) ตามวิธีการที่เข้มงวดอย่างยิ่งซึ่งเป็นเครื่องมือในการตรวจวัดได้เป็นอย่างดี ผู้สอบทุกคนจะได้รับ ผลการสอบ ซึ่งจะจัดระดับให้ผู้สอบ โดยมีระดับความรู้ทั้งสิ้น 6 ระดับ (A1 ถึง C2) ตามกฎเกณฑ์ที่กำหนดโดยคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป โดยการทดสอบความรู้ภาษาฝรั่งเศส (TCF) ได้รับการรับรองตามมาตรฐาน ISO 9001 : 2000 ตั้งแต่ เดือนธันวาคม ค.ศ. 2002
ข้อสอบ
ขั้นตอนการสอบ
การสอบภาคบังคับ 3 ขั้นตอน- ความเข้าใจทางการเขียน- ความเข้าใจทางการพูด- คำศัพท์/โครงสร้างประโยค การเลือกสอบ 2 ขั้นตอน- การอ่านการเขียน- การฝึกพูด
45 นาที25 นาที20 นาที 1 ช.ม. 45 นาที15 นาที
เพื่อเข้าเรียนในระบบมหาวิทยาลัย หรือโรงเรียนสถาปัตยกรรม ในฝรั่งเศส
3. การสอบประเมินความรู้ทางภาษาฝรั่งเศส (TEF)
การสอบประเมินความรู้ทางภาษาฝรั่งเศส (TEF)เป็นการสอบเพื่อประเมินความรู้ทางภาษาฝรั่งเศส ซึ่งจัดโดยหอการค้าและ อุตสาหกรรมแห่งกรุงปารีส มีจุดประสงค์เพื่อตรวจวัดระดับทางภาษาฝรั่งเศสของบุคคลที่ไม่ได้ใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ โดยการทดสอบความสามารถในการเข้าใจและการใช้ภาษาฝรั่งเศสโดยทั่วไป การวัดผลทั้งทางด้านคุณภาพและปริมาณของระดับ ความสามารถทางภาษาศาสตร์และการสื่อสารของผู้สอบ จัดทำผลการสอบที่มีการวิเคราะห์โดยละเอียดและจัดทำเป็นรายบุคคล
สำหรับนักเรียนนักศึกษา ได้ทราบผลจุดเด่นและจุดด้อยในความรู้ความสามารถทางภาษาฝรั่งเศสของตน ได้รับใบวุฒิบัตร รับรองระดับความรู้ที่ได้รับการยอมรับระดับนานาชาติและเป็นอิสระ สามารถนำไปใช้ในการศึกษาต่อในสถาบันการศึกษาฝรั่งเศส ระดับสูงได้ ใช้ประกอบการขอรับการฝึกงานในบริษัทฝรั่งเศสหรือการสมัครงาน
สำหรับผู้ที่ทำงานแล้ว:ได้การรับรองความสามารถในภาษาฝรั่งเศส วัดระดับความสามารถของตน โดยเปรียบเทียบกับ ระดับความสามารถที่พึงประสงค์ในสาขาอาชีพ เพื่อเพิ่มโอกาสในอาชีพการงาน (การเข้าทำงาน การเลื่อนตำแหน่ง การโยกย้าย ตำแหน่ง)
สำหรับบริษัทห้างร้าน:ตรวจสอบความสามารถเพื่อเรียนภาษาฝรั่งเศสต่อของพนักงานแต่ละคน และวัดระดับการพัฒนา ความสามารถของพนักงาน ประเมินระดับความสามารถของผู้ร่วมงานปัจจุบันและในอนาคตอย่างเป็นกลาง
ข้อสอบ
ขั้นตอนการสอบ
การสอบภาคบังคับ 3 ขั้นตอน- ความเข้าใจทางการเขียน- ความเข้าใจทางการพูด- คำศัพท์/โครงสร้างประโยค การเลือกสอบ 2 ขั้นตอน- การอ่านการเขียน- การฝึกพูด
1 ชม.40 นาที30 นาที 1 ช.ม. 35 นาที
ใช้สำหรับยื่นเพื่อเข้าแคนาดาในเขตที่ใช้ภาษาอังกฤษ
โดยสมาคมฝรั่งเศส กรุงเทพฯ เป็นศูนย์จัดการสอบประกาศนียบัตร DELF และ DALF จัดทดสอบความรู้ภาษาฝรั่งเศส (TCF) และจัดการสอบประเมินความรู้ทางภาษาฝรั่งเศส (TEF) แต่เพียงแห่งเดียวในประเทศไทย
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม แผนกต้อนรับสมาคมฝรั่งเศส กรุงเทพฯ
โทรศัพท์ : (662) 670 42 00
โทรสาร : (662) 670 42 70
e-mail : bangkok@alliance-francaise.or.th
การสอบวัดระดับภาษาฝรั่งเศสในประเทศไทยจัดสอบโดยสมาคมฝรั่งเศส กรุงเทพฯ การสอบแบ่งออกเป็นหลายประเภท โดยการสอบประเภทที่นักเรียนในระดับมัธยมปลายส่วนใหญ่ในประเทศไทยนิยมสอบกัน คือ การสอบ DELF ซึ่งเป็น ประกาศนียบัตรความรู้ทางด้านภาษาฝรั่งเศสขั้นพื้นฐาน ซึ่งบางโรงเรียนอาจมีการจัดสอบเป็นกลุ่มเฉพาะสำหรับนักเรียน โรงเรียนของตน นอกจากนี้ยังมีการทดสอบความรู้ภาษาฝรั่งเศส (TCF) และการสอบประเมินความรู้ทางภาษาฝรั่งเศส (TEF) อีกด้วย โดยการสอบวัดระดับเพื่อใช้เป็นหลักฐานในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาในประเทศฝรั่งเศสนั้น ส่วนใหญ่จะใช้ผลการสอบ DELF และ TCF ส่วนการสอบ TEF นั้นเป็นการสอบเพื่อเข้าศึกษาต่อหรือทำงานในประเทศแคนาดา
1. ประกาศนียบัตร DELF และ DALF
ประกาศนียบัตรความรู้ทางด้านภาษาฝรั่งเศสขั้นพื้นฐาน (DELF) และประกาศนียบัตร ความรู้ทางด้านภาษาฝรั่งเศสขั้นสูง (DALF) นี้ เป็นประกาศนียบัตรที่รับรองความรู้ ภาษาฝรั่งเศส ในฐานะภาษาต่างประเทศ ซึ่งรับรองอย่างเป็นทางการโดย ระทรวงศึกษาธิการ ของฝรั่งเศส ประกาศนียบัตรที่มีผลบังคับรับรองตลอดชีวิตทั้งสองระดับนี้ เป็นที่ยอมรับ ในประเทศฝรั่งเศส และทั่วโลก สามารถนำไปแสดงระดับความสามารถทางภาษาฝรั่งเศส กับนายจ้างได้ ในการวัดระดับของประกาศนียบัตรความรู้ ทางด้านภาษาฝรั่งเศสขั้นพื้นฐาน (DELF) และประกาศนียบัตรความรู้ทางด้านภาษาฝรั่งเศสขั้นสูง (DALF) ประกอบด้วย ประกาศนียบัตรซึ่งไม่เกี่ยวเนื่องต่อกัน 6 ระดับ โดยประกอบกันเป็น 6 ระดับตามมาตรฐาน อ้างอิงร่วมกัน ของสหภาพยุโรป สำหรับภาษาต่างๆ และปรับให้เข้ากับทุกคน ประกาศนียบัตร แต่ละใบจะเป็นการทดสอบที่เทียบเท่ากับการทดสอบทักษะ 4 ด้าน คือ ความเข้าใจกับการพูด ความเข้าใจกับการเขียน
ผู้สมัครสอบที่ได้รับประกาศนียบัตร DELF B2 สามารถเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยฝรั่งเศสได้โดยไม่ต้องสอบวัดระดับภาษาแรกเข้า
การสมัครสอบและการสอบ
การสอบประกาศนียบัตรความรู้ทางด้านภาษาฝรั่งเศสขั้นพื้นฐาน (DELF)
ดำเนินการโดยสมาคมฝรั่งเศส กรุงเทพฯ โดยมีการจัดสอบปีละ 3 ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ 1 เมษายน -มิถุนายน
ครั้งที่ 2 กันยายน -พฤศจิกายน
ครั้งที่ 3 ธันวาคม -กุมภาพันธ์
อัตราค่าสมัครสอบ
DELF A1 กับ A2 : ค่าสมัครสอบ 800 บาท ต่อการสอบแต่ละระดับ
DELF B1 กับ B2 : ค่าสมัครสอบ 900 บาท ต่อการสอบแต่ละระดับ
DALF C1 กับ C2 : ค่าสมัครสอบ 1,200 บาท ต่อการสอบแต่ละระดับ
2. การทดสอบความรู้ภาษาฝรั่งเศส (TCF)
การทดสอบความรู้ภาษาฝรั่งเศส (Test de Connaissance du Franças - TCF) เป็นการสอบอันดับหนึ่ง ของกระทรวงศึกษาธิการ การศึกษาขั้นสูง และการวิจัยของฝรั่งเศส โดยเป็นการสอบวัดระดับความสามารถทางภาษาฝรั่งเศส สำหรับบุคคลทั่วไปผู้ไม่ได้ใช้ภาษาฝรั่งเศส ที่ประสงค์จะประเมินระดับทักษะภาษาฝรั่งเศสของตนด้วยวิธีการง่ายๆ เชื่อถือได้ และรวดเร็ว ไม่ว่าจะเพื่อจุดประสงค์ด้านอาชีพการงาน ด้านส่วนตัว หรือด้านการศึกษาก็ตาม ซึ่งเป็นการสอบที่ได้รับรองมาตรฐาน และตรวจสอบจากหน่วยงานผู้ตรวจสอบซึ่งเป็นสมาชิกของสมาคม การทดสอบภาษาแห่งยุโรป (Association of language testers in Europe ALTE) ตามวิธีการที่เข้มงวดอย่างยิ่งซึ่งเป็นเครื่องมือในการตรวจวัดได้เป็นอย่างดี ผู้สอบทุกคนจะได้รับ ผลการสอบ ซึ่งจะจัดระดับให้ผู้สอบ โดยมีระดับความรู้ทั้งสิ้น 6 ระดับ (A1 ถึง C2) ตามกฎเกณฑ์ที่กำหนดโดยคณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป โดยการทดสอบความรู้ภาษาฝรั่งเศส (TCF) ได้รับการรับรองตามมาตรฐาน ISO 9001 : 2000 ตั้งแต่ เดือนธันวาคม ค.ศ. 2002
ข้อสอบ
ขั้นตอนการสอบ
การสอบภาคบังคับ 3 ขั้นตอน- ความเข้าใจทางการเขียน- ความเข้าใจทางการพูด- คำศัพท์/โครงสร้างประโยค การเลือกสอบ 2 ขั้นตอน- การอ่านการเขียน- การฝึกพูด
45 นาที25 นาที20 นาที 1 ช.ม. 45 นาที15 นาที
เพื่อเข้าเรียนในระบบมหาวิทยาลัย หรือโรงเรียนสถาปัตยกรรม ในฝรั่งเศส
3. การสอบประเมินความรู้ทางภาษาฝรั่งเศส (TEF)
การสอบประเมินความรู้ทางภาษาฝรั่งเศส (TEF)เป็นการสอบเพื่อประเมินความรู้ทางภาษาฝรั่งเศส ซึ่งจัดโดยหอการค้าและ อุตสาหกรรมแห่งกรุงปารีส มีจุดประสงค์เพื่อตรวจวัดระดับทางภาษาฝรั่งเศสของบุคคลที่ไม่ได้ใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่ โดยการทดสอบความสามารถในการเข้าใจและการใช้ภาษาฝรั่งเศสโดยทั่วไป การวัดผลทั้งทางด้านคุณภาพและปริมาณของระดับ ความสามารถทางภาษาศาสตร์และการสื่อสารของผู้สอบ จัดทำผลการสอบที่มีการวิเคราะห์โดยละเอียดและจัดทำเป็นรายบุคคล
สำหรับนักเรียนนักศึกษา ได้ทราบผลจุดเด่นและจุดด้อยในความรู้ความสามารถทางภาษาฝรั่งเศสของตน ได้รับใบวุฒิบัตร รับรองระดับความรู้ที่ได้รับการยอมรับระดับนานาชาติและเป็นอิสระ สามารถนำไปใช้ในการศึกษาต่อในสถาบันการศึกษาฝรั่งเศส ระดับสูงได้ ใช้ประกอบการขอรับการฝึกงานในบริษัทฝรั่งเศสหรือการสมัครงาน
สำหรับผู้ที่ทำงานแล้ว:ได้การรับรองความสามารถในภาษาฝรั่งเศส วัดระดับความสามารถของตน โดยเปรียบเทียบกับ ระดับความสามารถที่พึงประสงค์ในสาขาอาชีพ เพื่อเพิ่มโอกาสในอาชีพการงาน (การเข้าทำงาน การเลื่อนตำแหน่ง การโยกย้าย ตำแหน่ง)
สำหรับบริษัทห้างร้าน:ตรวจสอบความสามารถเพื่อเรียนภาษาฝรั่งเศสต่อของพนักงานแต่ละคน และวัดระดับการพัฒนา ความสามารถของพนักงาน ประเมินระดับความสามารถของผู้ร่วมงานปัจจุบันและในอนาคตอย่างเป็นกลาง
ข้อสอบ
ขั้นตอนการสอบ
การสอบภาคบังคับ 3 ขั้นตอน- ความเข้าใจทางการเขียน- ความเข้าใจทางการพูด- คำศัพท์/โครงสร้างประโยค การเลือกสอบ 2 ขั้นตอน- การอ่านการเขียน- การฝึกพูด
1 ชม.40 นาที30 นาที 1 ช.ม. 35 นาที
ใช้สำหรับยื่นเพื่อเข้าแคนาดาในเขตที่ใช้ภาษาอังกฤษ
โดยสมาคมฝรั่งเศส กรุงเทพฯ เป็นศูนย์จัดการสอบประกาศนียบัตร DELF และ DALF จัดทดสอบความรู้ภาษาฝรั่งเศส (TCF) และจัดการสอบประเมินความรู้ทางภาษาฝรั่งเศส (TEF) แต่เพียงแห่งเดียวในประเทศไทย
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม แผนกต้อนรับสมาคมฝรั่งเศส กรุงเทพฯ
โทรศัพท์ : (662) 670 42 00
โทรสาร : (662) 670 42 70
e-mail : bangkok@alliance-francaise.or.th
การแนะนำตัวเองด้วยภาษาฝรั่งเศสแบบง่ายๆ...นำไปใช้สอบ DELF A1 นะคับ....
แบบการแนะนำตัวอย่างง่ายนี้ นักเรียนจะต้องนำไปปรับให้เข้ากับตัวเอง และหาข้อมูลอื่นมาเสริมเพื่อให้เกิดความหลากหลายนะครับ
วันนี้มาทบทวนบทเรียนเรื่อง Articles กันนะจ๊ะ
Articles/คำนำหน้านาม
คำนามในภาษาฝรั่งเศสมี เพศและพจน์ คำนำหน้านาม จึงเปลี่ยนไปตามเพศและพจน์ของคำนามนั้น ทั้งเพศและพจน์มีผลต่อการสร้างประโยคมาก
ดังนั้น อย่าสับสนทางเพศและอย่าหละหลวมทางพจน์
เวลาท่องศัพท์ อย่าเอาแต่ท่องคำนาม ท่องเพศด้วย
เช่น เวลาจะท่อง styloปากกา ก็ให้ท่อง un stylo จักได้บุญนัก
J ภาษาฝรั่งเศสมีเพศไว้ทำไม
K ไม่ได้เอาไว้สืบพันธุ์แน่นอน การที่นามแต่ละตัวมีเพศจะทำให้คำคุณศัพท์และส่วนอื่น ๆ ในโครงสร้างประโยคต้องเปลี่ยนรูปตามเพศของนามตัวนั้น ทำให้ภาษามีความรัดกุม รู้ได้ทันทีว่า คุณศัพท์ตัวใด ขยายนามตัวไหน ภาษาฝรั่งเศสจึงเป็นภาษาที่เขียนกฎหมายได้ดีอีกภาษาหนึ่ง
คำนำหน้านาม 3 กลุ่มที่ต้องรู้จักคือ
1. Articles indéfinis คำนำหน้านามไม่ชี้เฉพาะมี 3 ตัวคือ
un + คำนามเพศชายเอกพจน์ เช่น un garçon เด็กผู้ชายคนหนึ่ง
une + คำนามเพศหญิงเอกพจน์ เช่น une fille เด็กผู้หญิงคนหนึ่ง
des + คำนามชายหรือหญิงพหูพจน์ เช่น des filles เด็กผู้หญิงกลุ่มหนึ่ง
ใช้เมื่อมีการกล่าวถึงคน สัตว์ หรือสิ่งของเป็นครั้งแรก
2. Articles définis คำนำหน้านามชี้เฉพาะมี 3 ตัวคือ
le + คำนามเพศชายเอกพจน์ เช่น le garçon เด็กผู้ชายคนนั้น
la + คำนามเพศหญิงเอกพจน์ เช่น la Lune พระจันทร์
les + คำนามชายหรือหญิงพหูพจน์ เช่น les filles เด็กผู้หญิงกลุ่มนั้น
จงสังเกต
à+le ð au
à+la ð à la
à+les ð aux
de+le ð du
de+la ð de la
de+les ð des
ใช้เมื่อเจาะจงชี้เฉพาะไม่ว่าคนสัตว์หรือสิ่งของ หรืออะไรก็ตามที่มีสิ่งเดียวในโลก เช่น le Soleil(พระอาทิตย์), la Lune(พระจันทร์) เป็นต้น
3. Articles partitifs คำนำหน้านามที่ไม่สามารถกำหนดปริมาณได้แน่นอน นิยมใช้กับการกิน การซื้ออาหาร และนามที่เป็นนามธรรม ได้แก่
du + คำนามเพศชาย เช่น du pain ขนมปัง
de la + คำนามเพศหญิง เช่น de la patience ความอดทน
de l’ + คำนามเพศชายหรือหญิงขึ้นต้นด้วยสระหรือ H muet เช่น de l’eau น้ำ, de l’huile น้ำมัน
des + นามชายหรือหญิงพหูพจน์ เช่น des légumes ผัก (เพศชาย)
Articles indéfinis และ articles partitifs จะเปลี่ยนเป็น de เมื่อเป็นประโยคปฏิเสธ เช่น
Nous avons une voiture. ð Nous n’avons pas de voiture. (เราไม่มีรถ)
ยกเว้นเมื่อใช้กับกริยา Etre เช่น Ce n’est pas du coton. (นี่ไม่ใช่ผ้าฝ้าย)
อย่าลืม เวลามีเพศหญิงและเพศชายอยู่รวมกัน ให้ถือเป็นเพศชายพหูพจน์
คำนามในภาษาฝรั่งเศสมี เพศและพจน์ คำนำหน้านาม จึงเปลี่ยนไปตามเพศและพจน์ของคำนามนั้น ทั้งเพศและพจน์มีผลต่อการสร้างประโยคมาก
ดังนั้น อย่าสับสนทางเพศและอย่าหละหลวมทางพจน์
เวลาท่องศัพท์ อย่าเอาแต่ท่องคำนาม ท่องเพศด้วย
เช่น เวลาจะท่อง styloปากกา ก็ให้ท่อง un stylo จักได้บุญนัก
J ภาษาฝรั่งเศสมีเพศไว้ทำไม
K ไม่ได้เอาไว้สืบพันธุ์แน่นอน การที่นามแต่ละตัวมีเพศจะทำให้คำคุณศัพท์และส่วนอื่น ๆ ในโครงสร้างประโยคต้องเปลี่ยนรูปตามเพศของนามตัวนั้น ทำให้ภาษามีความรัดกุม รู้ได้ทันทีว่า คุณศัพท์ตัวใด ขยายนามตัวไหน ภาษาฝรั่งเศสจึงเป็นภาษาที่เขียนกฎหมายได้ดีอีกภาษาหนึ่ง
คำนำหน้านาม 3 กลุ่มที่ต้องรู้จักคือ
1. Articles indéfinis คำนำหน้านามไม่ชี้เฉพาะมี 3 ตัวคือ
un + คำนามเพศชายเอกพจน์ เช่น un garçon เด็กผู้ชายคนหนึ่ง
une + คำนามเพศหญิงเอกพจน์ เช่น une fille เด็กผู้หญิงคนหนึ่ง
des + คำนามชายหรือหญิงพหูพจน์ เช่น des filles เด็กผู้หญิงกลุ่มหนึ่ง
ใช้เมื่อมีการกล่าวถึงคน สัตว์ หรือสิ่งของเป็นครั้งแรก
2. Articles définis คำนำหน้านามชี้เฉพาะมี 3 ตัวคือ
le + คำนามเพศชายเอกพจน์ เช่น le garçon เด็กผู้ชายคนนั้น
la + คำนามเพศหญิงเอกพจน์ เช่น la Lune พระจันทร์
les + คำนามชายหรือหญิงพหูพจน์ เช่น les filles เด็กผู้หญิงกลุ่มนั้น
จงสังเกต
à+le ð au
à+la ð à la
à+les ð aux
de+le ð du
de+la ð de la
de+les ð des
ใช้เมื่อเจาะจงชี้เฉพาะไม่ว่าคนสัตว์หรือสิ่งของ หรืออะไรก็ตามที่มีสิ่งเดียวในโลก เช่น le Soleil(พระอาทิตย์), la Lune(พระจันทร์) เป็นต้น
3. Articles partitifs คำนำหน้านามที่ไม่สามารถกำหนดปริมาณได้แน่นอน นิยมใช้กับการกิน การซื้ออาหาร และนามที่เป็นนามธรรม ได้แก่
du + คำนามเพศชาย เช่น du pain ขนมปัง
de la + คำนามเพศหญิง เช่น de la patience ความอดทน
de l’ + คำนามเพศชายหรือหญิงขึ้นต้นด้วยสระหรือ H muet เช่น de l’eau น้ำ, de l’huile น้ำมัน
des + นามชายหรือหญิงพหูพจน์ เช่น des légumes ผัก (เพศชาย)
Articles indéfinis และ articles partitifs จะเปลี่ยนเป็น de เมื่อเป็นประโยคปฏิเสธ เช่น
Nous avons une voiture. ð Nous n’avons pas de voiture. (เราไม่มีรถ)
ยกเว้นเมื่อใช้กับกริยา Etre เช่น Ce n’est pas du coton. (นี่ไม่ใช่ผ้าฝ้าย)
อย่าลืม เวลามีเพศหญิงและเพศชายอยู่รวมกัน ให้ถือเป็นเพศชายพหูพจน์
วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
ตัวอย่างข้อสอบแข่งขันทักษะความสามารถการเขียนตามคำบอก (Dictée) ชั้น ม.5
การแข่งขันทักษะความสามารถทางวิชาการของนักเรียน
วิชาภาษาฝรั่งเศส ปีการศึกษา 2552
ประเภท การเขียนตามคำบอก (Dictée) 15 คะแนน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
Lecture 1
เรื่องที่ 1 (10 คะแนน)
Les cinq copains veulent monter un groupe. Ils cherchent l’endroit pour répéter. C’est le garage des parents de Mathieu. Mais avant de répéter, il faut le nettoyer. Pour aller chez Mathieu, ils prennent l’autobus. Mathieu fait un plan pour ses amis. Et après, ils vont jouer dans la soirée d’anniversaire de Bérénice.
วิชาภาษาฝรั่งเศส ปีการศึกษา 2552
ประเภท การเขียนตามคำบอก (Dictée) 15 คะแนน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
Lecture 1
เรื่องที่ 1 (10 คะแนน)
Les cinq copains veulent monter un groupe. Ils cherchent l’endroit pour répéter. C’est le garage des parents de Mathieu. Mais avant de répéter, il faut le nettoyer. Pour aller chez Mathieu, ils prennent l’autobus. Mathieu fait un plan pour ses amis. Et après, ils vont jouer dans la soirée d’anniversaire de Bérénice.
Dictée à trous
เรื่องที่ 1 (10 คะแนน)
Les cinq copains (1)…………………..monter un (2)…………
Ils (3)………………… l’endroit pour (4)………………... C’est le (5)…………….des parents de Mathieu. Mais avant de répéter, il faut le (6)……………….. Pour aller chez Mathieu, ils (7)……………….. l’autobus. Mathieu fait un (8)………………… pour ses amis. Et après, ils vont(9)……………….dans la soirée d’(10)…………………….. de Bérénice.
เรื่องที่ 1 (10 คะแนน)
Les cinq copains (1)…………………..monter un (2)…………
Ils (3)………………… l’endroit pour (4)………………... C’est le (5)…………….des parents de Mathieu. Mais avant de répéter, il faut le (6)……………….. Pour aller chez Mathieu, ils (7)……………….. l’autobus. Mathieu fait un (8)………………… pour ses amis. Et après, ils vont(9)……………….dans la soirée d’(10)…………………….. de Bérénice.
Lecture 2
เรื่องที่ 2 ( 5 คะแนน)
เรื่องที่ 2 ( 5 คะแนน)
Chers parents,
Je suis bien arrivé en Egypte après un très bon voyage. Il fait vraiment très beau et très chaud. Le pays est merveilleux.
Grosses bises à tous les deux,
Sandrine et Omar.
Je suis bien arrivé en Egypte après un très bon voyage. Il fait vraiment très beau et très chaud. Le pays est merveilleux.
Grosses bises à tous les deux,
Sandrine et Omar.
Lecture 2
เรื่องที่ 2 ( 5 คะแนน)
เรื่องที่ 2 ( 5 คะแนน)
Chers parents,
Je suis bien ………………(1) en Egypte après un très bon ……………….(2) Il fait …………………..(3) très beau et très ……………..(4) Le pays est ……………………………(5)
Grosses bises à tous les deux,
Sandrine et Omar.
Je suis bien ………………(1) en Egypte après un très bon ……………….(2) Il fait …………………..(3) très beau et très ……………..(4) Le pays est ……………………………(5)
Grosses bises à tous les deux,
Sandrine et Omar.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)